คลิกที่ ลิ้ง เพื่อดูรายละเอียดแต่ละตัวชี้วัด
หมวด A : ภาพรวมคุณภาพของโรงพยาบาล
A01 : อัตราตายผู้ป่วยในอย่างหยาบ (Crude Death Rate)
A02 : อัตราป่วยตายที่เกิดจากการบาดเจ็บจากอุบัติเหตุขนส่งทางบก (Land Transport Accident Case Mortality Rate)
A03 : อัตราป่วยตายด้วยโรคมะเร็ง (Cancer Case Fatality Rate)
A04 : อัตราป่วยตายด้วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลัน (Acute Myocardial Infarction Case Fatality Rate)
A05 : อัตราป่วยตายด้วยโรคไข้เลือดออก (Dengue Case Fatality Rate)
A06 : อัตราป่วยตายด้วยโรคภูมิคุ้มกันบกพร่อง (HIV Case Fatality Rate)
A07 : อัตราป่วยตายด้วยโรคปอดบวมในเด็ก 0 - 5 ปี (Pneumonia Case Fatality Rate in 0-5 year)
A08 : อัตราการรับผู้ป่วยในซ้ำใน 28 วัน (Re-Admission Rate)
A09 : อัตราตายในผู้ป่วยที่มีภาวะติดเชื้อในกระแสโลหิต (Septicemia Mortality Rate)
A10 : อัตราตายในผู้ป่วยที่ทำการผ่าตัดเปิดกะโหลกศีรษะ (Craniotomy Mortality Rate)
A11 : อัตราตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง( Acute ALLTRIM(STRoke Mortality Rate)
A12 : อัตราตายของผู้ป่วยที่มีภาวะเลือดออกในระบบทางเดินอาหารส่วนต้น (Upper GI Hemorrhage Mortality Rate) ยกเว้นที่เกี่ยวข้องทางสูติกรรมและทารกแรกเกิด
A13 : จำนวนผู้ป่วยสูงอายุที่ได้รับการผ่าตัดไส้ติ่งชนิดไม่อักเสบ (Incidental Appendectomy in Elderly Volume)
A14 : อัตราการเกิดภาวะโพแทสเซียมต่ำ (Hypokalaemia Rate)
A15 : อัตราการเกิดภาวะโซเดียมต่ำ (Hyponatraemia Rate)
A16 : ค่าฐานนิยมของระยะเวลาการรอผ่าตัดในผู้ป่วยไส้ติ่งอักเสบเฉียบพลัน (Mode of Waiting time for Appendectomy in Acute Appendicitis)
A17 : ค่าฐานนิยมของระยะเวลาการรอผ่าตัดสมองของผู้ป่วยบาดเจ็บทางสมอง (Waiting time for Craniotomy)
หมวด B : ภาพรวมคุณภาพของโรงพยาบาล ด้านการดูแลสุขภาพแม่และเด็ก
B01 : อัตราตายของมารดา (Maternal Mortality Rate)
B02 : อัตราตายทารกแรกเกิดระยะต้น (Early Neonatal Mortality Rate)
B03 : อัตราเกิดไร้ชีพ (Stillbirth Rate)
B04 : อัตราการเกิดภาวะขาดอากาศในทารกแรกเกิด (Birth Asphyxia Rate)
B05 : อัตราทารกแรกเกิดน้ำหนักน้อย (Low Birth Weight Rate)
B06 : การผ่าท้องคลอด (Cesarean Section Rate)
B07 : อัตราการฉีกขาดของฝีเย็บจากการคลอด (Rate of Perineal Laceration During Delivery)
หมวด C : ภาพรวมศักยภาพของโรงพยาบาล
C01 : ค่าน้ำหนักสัมพัทธ์เฉลี่ย (Average RW : CMI)
C02 : ค่าน้ำหนักสัมพัทธ์ที่ปรับค่าแล้วเฉลี่ย (Average Adjusted RW : CMI)
C03 : อัตราผู้ป่วยในที่มีความซับซ้อนทางการรักษา
C04 : อัตราตายของผู้ป่วยในที่มีความซับซ้อนทางการรักษา
C05 : ค่ารักษาพยาบาลเฉลี่ยต่อหนึ่งหน่วยน้ำหนักสัมพัทธ์ที่ปรับค่าแล้วของผู้ป่วยใน
C06 : ผู้ป่วยที่มีค่าน้ำหนักสัมพัทธ์มากกว่า 3
C07 : ผู้ป่วยที่มีค่าน้ำหนักสัมพัทธ์น้อยกว่า 0.5
C08 : อัตราผู้ป่วย 5 อันดับกลุ่มโรคของประเทศ (5 Most Common DRGs)
C09 : จำนวนกลุ่มวินิจฉัยโรคร่วม (DRGs)
หมวด D : ภาพรวมประสิทธิภาพของโรงพยาบาล
D01 : อัตราการครองเตียง (Bed Occupancy Rate)
D02 : อัตราการใช้เตียง (Bed Turnover Rate)
D03 : วันนอนโรงพยาบาลเทียบวันนอนมาตรฐาน
D04 : ผู้ป่วยที่มีวันนอนวันเดียว (Same Day Case Rate)
D05 : ผู้ป่วยผ่าตัดที่มีวันนอนวันเดียว (Same Day Surgery Case Rate)
หมวด E : ภาพรวมความเป็นธรรมของโรงพยาบาล
E01 : ค่าน้ำหนักสัมพัทธ์เฉลี่ยรายสิทธิ
E02 : วันนอนเฉลี่ยรายสิทธิ
E03 : ค่ารักษาพยาบาลเฉลี่ยต่อหนึ่งหน่วยน้ำหนักสัมพัทธ์ที่ปรับค่าแล้วของผู้ป่วยในรายสิทธิ
E04 : อัตราการผ่าท้องคลอดรายสิทธิ
E05 : อัตราการผ่าตัดใส่เลนส์แก้วตาเทียมในผู้ป่วย Cataract รายสิทธิ
หมวด F : คุณภาพประสิทธิภาพการส่งต่อ Refer
F01 : สัดส่วนผู้ป่วยในส่งต่อ (รับเข้า)
F02 : ค่าน้ำหนักสัมพัทธ์ (RW) เฉลี่ยของผู้ป่วยในส่งต่อ (รับเข้า)
F03 : สัดส่วนผู้ป่วยในส่งต่อ (รับเข้า) ข้ามจังหวัด
F04 : ค่าน้ำหนักสัมพัทธ์ (RW) เฉลี่ยผู้ป่วยในส่งต่อ (รับเข้า) ข้ามจังหวัด
F05 : สัดส่วนผู้ป่วยในส่งต่อ (ส่งออก)
F06 : ค่าน้ำหนักสัมพัทธ์ (RW) เฉลี่ยของผู้ป่วยส่งต่อ (ส่งออก)
F07 : ค่ารักษาพยาบาลเฉลี่ยของผู้ป่วยในส่งต่อ (รับเข้า) ต่อหนึ่งหน่วยน้ำหนักสัมพัทธ์ที่ปรับค่าแล้ว (Adjusted RW)
F08 : ค่ารักษาพยาบาลเฉลี่ยของผู้ป่วยในส่งต่อ (ส่งออก) ต่อหนึ่งหน่วยน้ำหนักสัมพัทธ์ที่ปรับค่าแล้ว (Adjusted RW)
F09 : อัตราส่วนค่าน้ำหนักสัมพัทธ์ (RW) ผู้ป่วยส่งต่อ (รับเข้า) ต่อค่าน้ำหนักสัมพัทธ์ (RW) ผู้ป่วยส่งต่อ (ส่งออก)